1 win casino1win aviatormosbetmosbet casinopin-upmostbet aviator login1 winmostbet1 win azpin up casino1winmosbetpin up bettingparimatchlacky jet4era betmostbet casinoparimatchpin up azerbaijanlucky jet casino1win slot4rabet mirror1 win casinoluckyjet1wınmosbetaviator4rabet bangladesh1 winpin up az1win onlinepin up indialucky jetmostbet azmostbetpin up kz1win1win casino1win saytimostbet aviatorlucky jetmostbetmostbet onlinepinup loginpin uppin up1win login4r betmosbet indiamostbet azaviator mostbet

เมืองยุคโรมัน เมื่อ 2 พันกว่าปีมาแล้ว เขามีห้องน้ำ และสระอาบน้ำร้อนสาธารณะ มีท่อส่งน้ำดื่ม มีถนนและโรงละครสาธารณะ ให้กับประชาชน

โดย รศ.ดร.ต่อตระกูล ยมนาค

เมืองยุคโรมัน เมื่อ 2 พันกว่าปีมาแล้ว เขามีห้องน้ำ และสระอาบน้ำร้อนสาธารณะ มีท่อส่งน้ำดื่ม มีถนนและโรงละครสาธารณะ ให้กับประชาชน

เขาทำได้อย่างไร โดยไม่มีการเลือกตั้ง เขามีวุฒิสภา ที่แต่งตั้งมาให้ดูแล เรียกว่าสภาซีเนต คอยออกนโยบายว่าจะสร้างอะไร ที่มีประโยชน์เพื่อส่วนรวม เช่นถนน หนทาง และระบบการส่งน้ำสะอาดจากภูเขาห่างไกลเข้ามาใช้ในเมือง บางส่วนสร้างเพื่อความสุขสบายของประชาชนที่เสียภาษีให้มา เช่น โรงละครกลาง สนามกีฬา ตลอดจน โรงอาบน้ำร้อน และส้วมสาธารณะ ที่มีน้ำไหลชำระล้างส้วม ตลอดเวลา ฯลฯ

การก่อสร้าง ก็มีระบบการประมูลแข่งขันราคา กันอย่างจริงจัง เห็นได้จากผลงานถนน สะพาน ที่แข็งแรงอยู่ได้มาเป็น พันๆปี มีการเลือกตั้งตำแหน่งผู้ตรวจการก่อสร้าง ทุกๆ 5 ปี ที่เรียกว่า Censoriae เพื่อจัดหาเงินทุนและจัดการงานก่อสร้างสาธารณะ มีหน้าที่รับผิดชอบในการตัดสินและกำกับดูแลสัญญา

อ่านเพิ่มเติมวิธีบริหารการก่อสร้างแบบโรมัน โบราณแต่ทันสมัยมาก

ได้ที่: https://www.labrujulaverde.com/en/2024/09/locationes-censoriae-the-contracts-that-enabled-the-construction-of-romes-great-public-works/?fbclid=IwY2xjawGwvPBleHRuA2FlbQIxMAABHTF8W-IXfuk2UMNNx9H-_25Vc721MMHLZMTibGerASde8Moh0WYxPuqNEA_aem_7xCPLTHLd3Klu0psal2yWg

*** ทุกๆเช้าวันจันทร์ พบกับเรื่องราวน่าสนใจในวงการก่อสร้าง คัดเลือก ค้นหามาเล่าโดย อาจารย์ต่อ

ส้วมสาธารณะ ในกรุงโรม

รางส่งน้ำ โรมัน

โรงอาบน้ำสาธารณะ Roman Bath ที่มีระบบทำความร้อนของสระ โดยใช้ความร้อนจากการเผาฟืนไม้ ใต้สระน้ำ

ถนนโรมัน Roman Road ถนนในเมืองจะปูด้วยแผ่นหิน ถนนเชื่อมต่อเมืองต่างๆที่ยาวรวมกว่า 400,000 กิโลเมตร จะมีหินเป็นก้อนเล็กๆเรียงกันเป็นผิวถนน