1 win casino1win aviatormosbetmosbet casinopin-upmostbet aviator login1 winmostbet1 win azpin up casino1winmosbetpin up bettingparimatchlacky jet4era betmostbet casinoparimatchpin up azerbaijanlucky jet casino1win slot4rabet mirror1 win casinoluckyjet1wınmosbetaviator4rabet bangladesh1 winpin up az1win onlinepin up indialucky jetmostbet azmostbetpin up kz1win1win casino1win saytimostbet aviatorlucky jetmostbetmostbet onlinepinup loginpin uppin up1win login4r betmosbet indiamostbet azaviator mostbet

ประเทศไทย เราก่อสร้างถนนทางด่วนยกระดับ กันแบบไหน ถึงได้พังกันลงมาตลอด ?

โดย รศ.ดร.ต่อตระกูล ยมนาค

ประเทศไทย เราก่อสร้างถนนทางด่วนยกระดับ กันแบบไหน ถึงได้พังกันลงมาตลอด ? ไม่ใช่อุบัติเหตุ แน่นอน ไม่ใช่ เรื่องทางวิศวกรรม แต่เป็นเรื่อง ของขบวนการบริหารขั้นก่อสร้าง การคัดเลือกผู้รับเหมา และการควบคุมงาน ระหว่างการก่อสร้าง ที่มีปัญหา

กรณี คานทรัสต์เหล็ก ที่ใช้ยกชิ้นส่วนคานคอนกรีต ขึ้นไปประกอบ ได้หักพังลงมา ระหว่างการก่อสร้างทางยกระดับ พระราม 2 เมื่อรุ่งเช้าของวันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 มีผู้เสียชีวิตถึง 6 ราย นับเป็นจุดที่ผู้อยู่ในวงการก่อสร้างสุดจะอดกลั้น อีกต่อไป ความจริงที่สาธารณชนทั่วไปจะไม่ทราบเรื่อง จึงพรั่งพรู ออกมา ตามสื่อและนักวิชาการอิสระต่างๆ เช่น

ทีวี Top News เปิดรายชื่อ ผู้รับเหมา ต่างๆที่ประมูลได้ รวมทั้งงานส่วนที่พังนี้ แต่ไม่ทำเอง
ไปจ้างต่อกับผู้รับเหมาท้องถิ่นรายเล็ก ที่ทุกคนก็รู้ชื่อว่าเป็นตัวทำจริง ค้นประวัติแล้วจดทะเบียนแค่ 1 ล้านบาท

อาจารย์ Dr. Punchet Thammarak จากสถาบัน AIT ( Asian Institute of Technology) ก็ได้ไปถ่ายรูป เก็บภาพซากพังด้วยกล้องระบบใหม่ ที่เรียกว่า LiDAR ( Light Detection and Ranging ) ซึ่งเก็บภาพโดยใช้แสงเลเซอร์ เก็บภาพทุกจุด หลายๆมุม แล้วสามารถนำมาสร้างเป็นภาพสามมิติ ที่หมุนดูภาพ และขยายดูได้ทุกจุดที่ต้องการ ใช้วิเคราะห์สาเหตุได้ในภายหลัง แม้จะรื้อซากออกไปแล้ว ในยุคดิจิตอลนี้ ผู้ทุจริตและร่วมทุจริต จะไม่สามารถปิดหู ปิดตา ประชาชน แบบเดิมๆ ด้วยการปิดข่าว หรือด้วยการปิดชีวิตคนเปิดข่าว ได้ง่ายๆเหมือนเดิมได้อีกต่อไปแล้ว

*** ทุกเช้าวันจันทร์พบกับเรื่องราวในวงการก่อสร้างในชุด “เปิดสมองมองก่อสร้าง”
เช้าวันจันทร์วันนี้ขอนำเรื่องที่เป็นจุดดำในวงการก่อสร้างต้องขอนำมาเสนอด้วยความเศร้าใจยิ่ง

โดยอาจารย์ต่อตระกูล ยมนาค
อดีตรองศาสตราจารย์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

– ถนนพระราม 2 “มักง่าย”จนกลายเป็นตำนาน- สำนักข่าว TOP NEWS ทีวีช่อง JKN 18 ทำข่าวสัมภาษณ์คนในวงการก่อสร้าง เปิดขบวนการประมูล ที่คนชนะประมูล ไม่ได้ทำเอง

ภาพที่ได้จากบันทึกด้วยกล้อง LiDAR ซึ่งมาจากคำว่า Light Detection and Ranging ใช้แสงเลเซอร์แทนแสง และ แทนคลื่นในระบบเรดาร์ เดิม

อาจารย์ Dr. Punchet Thammarak จากสถาบัน AIT ( Asian Institute of Technology) ได้เก็บภาพไว้ ด้วยกล้อง LiDAR

LiDAR มาจากคำว่า Light Detection and Rangingใช้แสงเลเซอร์ แทนคลื่นในระบบเรดาร์ เดิม

ทีวี JKN ช่อง 18 ในรายการ TOP NEWS ออกมาเปิดข้อมูลลึก เบื้องหลัง

รายชื่อผู้รับเหมาทั้ง 10 รายที่ประมูลได้ งานแต่ละช่วง ช่วงตอนที่ 1 ที่เกิดเหตุ ประมูลได้ในราคาเป็นที่ 1 อีกด้วย